กฎหมายแรงงาน เรื่อง การเลิกจ้างโดยไม่จ่ายค่าชดเชย
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่
มารับฟังรายละเอียดเกี่ยวกับบทบัญญัติของพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2551 มาตรา 119 เรื่อง กรณีนายจ้างไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยกรณีที่ลูกจ้างได้กระทำสิ่งหนึ่งสิ่งใดตามที่กฎหมายกำหนดไว้ 6 กรณี ซึ่งนายจ้างสามารถเลิกจ้างได้โดยไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้าและไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย
ลูกจ้างต้องได้! ค่าชดเชยเมื่อถูกเลิกจ้าง #สิทธิลูกจ้าง #ค่าชดเชย #กฎหมายแรงงาน #เลิกจ้าง #mfinance
ลูกจ้างต้องรู้! ค่าชดเชยเมื่อถูกเลิกจ้าง สิทธิลูกจ้าง ค่าชดเชย กฎหมายแรงงาน เลิกจ้าง mfinance ช่องเอ็ม mfoodtv นายจ้าง กระทรวงแรงงาน ประกันสังคม จัดหางาน
เครดิตข้อมูล : กระทรวงแรงงาน, ธรรมนิติ
หลักเกณฑ์การจ่ายค่าชดเชย
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง มาตรา 118 ให้นายจ้างจ่ายค่าชดเชยให้แก่ลูกจ้างซึ่งเลิกจ้าง ดังต่อไปนี้
1) ลูกจ้างซึ่งทำงานติดต่อกันครบ 120 วัน แต่ไม่ครบ 1 ปี
ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่ำจ้างอัตราสุดท้าย 30 วัน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทำงาน 30 วันสุดท้าย สำหรับลูกจ้างซึ่งได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย
2) ลูกจ้างซึ่งทำงานติดต่อกันครบ 1 ปี แต่ไม่ครบ 3 ปี
ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 90 วัน หรือไม่น้อยกว่าค่ำจ้างของการทำงาน 90 วันสุดท้าย สำหรับลูกจ้างซึ่งได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย
3) ลูกจ้างซึ่งทำงานติดต่อกันครบ 3 ปี แต่ไม่ครบ 6 ปี
ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 180 วัน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทำงาน 180 วันสุดท้าย สำหรับลูกจ้างซึ่งได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย
4) ลูกจ้างซึ่งทำงานติดต่อกันครบ 6 ปี แต่ไม่ครบ 10 ปี
ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้าง อัตราสุดท้าย 240 วัน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทำงาน 240 วันสุดท้าย สำหรับลูกจ้างซึ่งได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย
5) ลูกจ้างซึ่งทำงานติดต่อกันครบ 10 ปี แต่ไม่ครบ 20 ปี
ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้าง อัตราสุดท้าย 300 วัน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทำงาน 300 วันสุดท้าย สำหรับลูกจ้างซึ่งได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย
6) ลูกจ้างซึ่งทำงานติดต่อกันครบ 20 ปีขึ้นไป ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 400
วัน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของกการทำงาน 400 วันสุดท้าย สำหรับลูกจ้างซึ่งได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย
Live 192560 กฎหมายแรงงาน เรื่องคดีเลิกจ้างไม่เป็นธรรม
Live 19/2560 วิชา กฎหมายแรงงาน เรื่อง คดีเลิกจ้างไม่เป็นธรรม
เรียนได้ทั้งนักศึกษากฎหมายชั้นป.ตรีและเนติ ดาว์นโหลดชีทที่นี่ https://1drv.ms/b/s!AioEzXCzTkR04y2peJvAkHMFklsn
ตอนท้ายแบตหมดตอนใกล้จบพอดี ขอบคุณที่ติดตามครับ
สนใจติวสอบ ทนาย (เริ่มที่ 2,900) และ เนติ (เริ่มที่ 4,900) กับ อาจารย์เป้ อาจารย์ตูน สมาร์ทลอว์ติวเตอร์ แบบสอนสดหรือ Online คลิ้กที่นี่ https://line.me/R/ti/p/%40smartlawtutor หรือโทรมาเลย 0869875678, 0869785678 (เปิดทำการทุกวัน ระหว่างเวลา 8.3018.30น.)
คลินิกกฎหมายแรงงาน :EP 19 เลิกจ้างเพราะตั้งครรภ์ ต้องจ่ายค่าชดเชยไหม
สำหรับใครที่ชอบอ่านบทความสามาถเข้าไปที่เพจ
https://www.facebook.com/labourlawclinique/
https://www.facebook.com/Findyourlawyerhere/
และสำหรับท่านใดที่เห็นว่าบทความนี้เป็นประโยชน์
อย่าลืม กดไลค์ กดแชร์ และกดติดตาม เพื่อเป็นกำลังใจให้ทีมงานสร้างสรรค์คลิปสาระดีๆต่อไปด้วยนะคะ ^^
คลินิกกฎหมายแรงงาน
กฎหมายแรงงาน
เลิกจ้างไม่เป็นธรรม
คดีแรงงาน
ลาออก
ค่าชดเชยการเลิกจ้าง ตาม พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน 2562 (บรรยายภาษาไทย)
กฎหมายแรงงาน กฎหมายใหม่ กฎหมายล่าสุด เลิกจ้าง
ฟังคลิปนี้เป็นภาษาอิสานได้ที่ https://www.youtube.com/watch?v=FjC1Sgx8c4I\u0026t=50s
เสียงบรรยายโดย : ศราวุธ ชัยดี
บันทึกเสียง : PURE Studio
https://purestudio.simdif.com/
มาตรา ๑๔ ให้ยกเลิกความใน (๕) ของมาตรา ๑๑๘ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน
พ.ศ. ๒๕๔๑ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“(๕) ลูกจ้างซึ่งทางานติดต่อกันครบสิบปี แต่ไม่ครบยี่สิบปี ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย
สามร้อยวัน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทางานสามร้อยวันสุดท้ายสาหรับลูกจ้างซึ่งได้รับค่าจ้าง
ตามผลงานโดยคานวณเป็นหน่วย”
มาตรา ๑๕ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (๖) ของมาตรา ๑๑๘ แห่งพระราชบัญญัติ
คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑
“(๖) ลูกจ้างซึ่งทางานติดต่อกันครบยี่สิบปีขึ้นไป ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย
สี่ร้อยวัน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทางานสี่ร้อยวันสุดท้ายสาหรับลูกจ้างซึ่งได้รับค่าจ้างตามผลงาน
โดยคานวณเป็นหน่วย”
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่wes-and-vps/