การพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์ของศาลยุติธรรม
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม
แจ้งนายก รองนายกท้องถิ่นฯเรื่องแจ้งเปลี่ยนแบบบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินป.ป.ช.เริ่ม1มกราคม2564
เปลี่ยนแบบบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินปปช
คณะกรรมการป.ป.ช.ประกาศใช้แบบบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินใหม่เริ่มใช้1มกราคม2564
EP162 ผู้จัดการมรดก มีหน้าที่อะไรบ้าง | ขั้นตอนการตั้งผู้จัดการมรดก | ทนายปวีณ
ถึงหน้าตาไม่น่าไว้ใจแต่ไว้ใจได้ครับ
กฎหมายง่ายๆกับ ทนายปวีณ
ให้คำปรึกษาฟรี สงสัยตรงไหนเรื่องอะไรคอมเม้นไว้เลยครับ
Facebook : ทนายปวีณ คลิ๊กเลย https://bit.ly/2QFlaDH
เป็นหนี้ได้รับหมายศาลจากเจ้าหนี้ไม่ต้องตกใจไม่ติดคุก เชื่อผม เพราะมันเป็นคดีแพ่ง
เป็นหนี้ได้รับหมายศาลจากเจ้าหนี้หรือธนาคารหรือไฟแนนท์ไม่ต้องตกใจไม่ติดคุกเชื่อผม เพราะมันเป็นคดีแพ่ง
สิ่งแรกที่ควรทำหยิบขึ้นมาอ่านก่อน ว่าใครเป็นเจ้าหนี้ใครเป็นลูกหนี้เขาฟ้องมาข้อหาอะไรเป็นที่เท่าไหร่หมายเลขคดีดำอะไรศาลไหน
หลังจากนั้นโทรไปหาทนายความของโจทก์ด้านหลังคำขอท้ายฟ้อง สอบถามรายละเอียดและแนวทางในการเจรจาหรือต่อสู้คดี
ลูกหนี้ควรไปศาลหรือไม่ไม่ไปได้ไหม และควรปรึกษาทนายหรือไม่มีประโยชน์ในการจ้างทนายเข้าไปให้คำแนะนำทางกฎหมายหรือไม่
ลองฟังคลิปนี้ดู อาจารย์เดชาให้ความรู้เกี่ยวกับชี้แนะทางออกเมื่อได้รับหมายศาล
ลองฟังดูนะครับมีประโยชน์ช่วยแชร์ไปด้วย พี่น้องประชาชนจะได้ไม่ต้องเครียด เพราะมีทางออก
ผู้จัดการมรดก ใครสามารถเป็นผู้จัดการมรดกได้บ้าง และใครที่ต้องห้ามเป็นผู้จัดการมรดก !!
ผู้จัดการมรดก คือ บุคคลที่ตั้งโดยพินัยกรรม หรือ คำสั่งศาล (ม.1711)
ผู้จัดการมรดกโดยพินัยกรรม ตั้งขึ้นโดย ผู้ทำพินัยกรรม หรือ ระบุไว้ใน พินัยกรรม
ผู้จัดการมรดกตามคำสั่งศาล (ม.1713)
1.ทายาท
ทายาทโดยธรรมผู้มีสิทธิรับมรดกและสามารถร้องขอเป็นผู้จัดการมรดกต่อศาลได้
มาตรา 1629 ทายาทโดยธรรมมีหกลำดับเท่านั้น และภายใต้บังคับแห่งมาตรา 1630 วรรค 2 แต่ละลำดับมีสิทธิได้รับมรดกก่อนหลังดั่งต่อไปนี้ คือ
(1) ผู้สืบสันดาน
(2) บิดามารดา
(3) พี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน
(4) พี่น้องร่วมบิดาหรือร่วมมารดาเดียวกัน
(5) ปู่ ย่า ตา ยาย
(6) ลุง ป้า น้า อา
ส่วนกรณีคู่สมรสที่ยังมีชีวิตอยู่นั้นก็เป็นทายาทโดยธรรม ภายใต้บังคับของบทบัญญัติพิเศษแห่งมาตรา 1635
2.ผู้มีส่วนได้เสีย
เช่น สามี/ภรรยาที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายจะไม่มีสิทธิรับมรดกในฐานะทายาทโดยธรรม แต่จะสามารถแบ่งทรัพย์สินในฐานะหุ้นส่วนได้ เนื่องจากทรัพย์สินที่ทำมาหาได้ร่วมกันระหว่างอยู่ด้วยกันถือว่าเป็นกรรมสิทธิ์รวม มีสิทธิแบ่งกันคนละครึ่ง และถือว่าเป็นผู้มีส่วนได้เสีย จึงสามารถร้องขอเป็นผู้จัดการมรดกต่อศาลได้
3.พนักงานอัยการ
ใครที่ต้องห้ามเป็นผู้จัดการมรดก
มาตรา 1718 บุคคลต่อไปนี้จะเป็นผู้จัดการมรดกไม่ได้
(1) ผู้ซึ่งยังไม่บรรลุนิติภาวะ
(2) บุคคลวิกลจริต หรือบุคคลซึ่งศาลสั่งให้เป็นผู้เสมือนไร้ความสามารถ
(3) บุคคลซึ่งศาลสั่งให้เป็นคนล้มละลาย
มาตรา 1711 ผู้จัดการมรดกนั้นรวมตลอดทั้งบุคคลที่ตั้งขึ้นโดยพินัยกรรมหรือโดยคำสั่งศาล
มาตรา 1712 ผู้จัดการมรดกโดยพินัยกรรมอาจตั้งขึ้นได้
(1) โดยผู้ทำพินัยกรรมเอง
(2) โดยบุคคลซึ่งระบุไว้ในพินัยกรรม ให้เป็นผู้ตั้ง
มาตรา 1713 ทายาทหรือผู้มีส่วนได้เสียหรือพนักงานอัยการจะร้องต่อศาลขอให้ตั้งผู้จัดการมรดกก็ได้ ในกรณีดั่งต่อไปนี้
(1) เมื่อเจ้ามรดกตาย ทายาทโดยธรรมหรือผู้รับพินัยกรรมได้สูญหายไป หรืออยู่นอกราชอาณาเขต หรือเป็นผู้เยาว์
(2) เมื่อผู้จัดการมรดกหรือทายาทไม่สามารถ หรือไม่เต็มใจที่จะจัดการ หรือมีเหตุขัดข้องในการจัดการ หรือในการแบ่งปันมรดก
(3) เมื่อข้อกำหนดพินัยกรรมซึ่งตั้งผู้จัดการมรดกไว้ไม่มีผลบังคับได้ด้วยประการใด ๆ
การตั้งผู้จัดการมรดกนั้น ถ้ามีข้อกำหนดพินัยกรรมก็ให้ศาลตั้งตามข้อกำหนดพินัยกรรม และถ้าไม่มีข้อกำหนดพินัยกรรม ก็ให้ศาลตั้งเพื่อประโยชน์แก่กองมรดกตามพฤติการณ์และโดยคำนึงถึงเจตนาของเจ้ามรดก แล้วแต่ศาลจะเห็นสมควร
ดูเนื้อหาเพิ่มเติมได้ในคลิปได้เลยนะคะ
หากคลิปนี้ผิดพลาดประการใดต้องขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วยนะคะ
Page Facebook : ModernLaw
หรือคลิกที่ลิงค์ : https://www.facebook.com/modernlawth
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่wes-and-vps/