การฟ้องคดีผ่านระบบ e-Filing แบบละเอียด โดยกลุ่มพัฒนาวิชาชีพทนายความด้วยเทคโนโลยี | หนังสือให้ความยินยอมจัดการมรดก

การฟ้องคดีผ่านระบบ e-Filing แบบละเอียด โดยกลุ่มพัฒนาวิชาชีพทนายความด้วยเทคโนโลยี


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

การฟ้องคดีผ่านระบบ eFiling แบบละเอียด โดยกลุ่มพัฒนาวิชาชีพทนายความด้วยเทคโนโลยี

การฟ้องคดีผ่านระบบ e-Filing แบบละเอียด โดยกลุ่มพัฒนาวิชาชีพทนายความด้วยเทคโนโลยี

การรับมรดกที่ดิน เมื่อเจ้าของที่ดินเสียชีวิต มีขั้นตอนอย่างไร


การรับมรดกที่ดิน เมื่อเจ้าของที่ดินหรือผู้มีชื่อในเอกสารเกี่ยวกับที่ดิน ( เช่น โฉนดที่ดิน หรือ น.ส.๓ หรือ น.ส.๓ ก. หรือ น.ส.๓ ข.) ตายลงไป ที่ดินแปลงนั้นก็จะเป็นมรดก ซึ่งจะตกทอดแก่ทายาทของผู้ตาย โดยสิทธิตามกฎหมายหรือโดยพินัยกรรมที่เจ้ามรดกทำไว้
ทายาทที่มีสิทธิตามกฎหมายหรือทายาทโดยธรรมมี ๖ ลำดับ แต่ละลำดับมีสิทธิได้รับมรดกก่อนหลัง ดังต่อไปนี้
๑. ผู้สืบสันดาน (บุตร, หลาน, เหลน, ลื้อ)
๒. บิดา มารดา
๓. พี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน
๔. พี่น้องร่วมบิดา หรือร่วมมารดาเดียวกัน
๕. ปู่ ย่า ตา ยาย
๖. ลุง ป้า น้า อา
คู่สมรสที่ยังมีชีวิตอยู่ถือเป็นทายาทโดยธรรม มีสิทธิรับมรดกร่วมกับทายาทโดยธรรมทั้ง ๖ ลำดับ
โดยผู้มีสิทธิได้รับมรดกที่ดินจะต้องไปขอจดทะเบียนรับโอนมรดกที่ดินนั้นที่สำนักงานที่ดินจังหวัด หรือสำนักงานที่ดินจังหวัดสาขา ในกรณีมีเอกสารเป็นโฉนดที่ดิน น.ส. ๓ ข. และสำนักงานที่ดินอำเภอ ในกรณีมีเอกสารเป็น น.ส.๓, น.ส.๓ ก. ถ้าท้องที่ใดที่ได้มีประกาศกระทรวงมหาดไทยยกเลิกอำนาจหน้าที่ของนายอำเภอเกี่ยวกับการปฏิบัติการตามกฎหมายที่ดินแล้ว ไม่ว่าที่ดินจะเป็นโฉนดที่ดิน น.ส.๓ หรือ น.ส. ๓ ก.,น.ส.๓ ข. จะต้องไปขอจดทะเบียนที่สำนักงานที่ดินจังหวัด หรือสำนักงานที่ดินจังหวัดสาขาที่ที่ดินตั้งอยู่
หลักฐานที่ต้องนำไปประกอบการขอรับมรดก คือ
โฉนดที่ดิน หรือหนังสือรับรองทำประโยชน์
บัตรประจำตัว
ทะเบียนบ้าน
หลักฐานการตายของเจ้ามรดก เช่น มรณบัตร
พินัยกรรม (ถ้ามี)
ถ้าผู้ขอ ขอรับมรดกในฐานะเป็นคู่สมรส ต้องมีหลักฐานการสมรสที่ชอบด้วยกฎหมาย
ถ้าผู้ขอรับมรดกเป็นบิดาเจ้ามรดก ต้องมีทะเบียนสมรสกับมารดาของเจ้ามรดกหรือหลักฐานการรับรองบุตร
กรณีบุตรบุญธรรมเป็นผู้ขอรับมรดก ต้องแสดงหลักฐานการจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม
ถ้ามีกรณีพิพาทเกี่ยวกับมรดก ต้องนำสัญญาประนีประนอมยอมความหรือคำพิพากษาอันถึงที่สุดไปแสดง
ถ้ามีผู้มีสิทธิรับมรดกร่วมกันหลายคน บางคนได้ถึงแก่กรรมไปแล้ว ต้องมีหลักฐานการตายของทายาทนั้น ๆ

See also  แม่มณีพาลุยชลบุรี เที่ยวได้ไม่ต้องใช้เงินสด | แม่มณี ไทยพาณิชย์
See also  แนะนำบัตรกดเงินสด Xpress Cash | บัตร กด เงิน

ในกรณีที่มีผู้จัดการมรดก หลักฐานที่ต้องนำไป คือ
คำสั่งศาลหรือคำพิพากษาของศาล หรือพินัยกรรมซึ่งตั้งให้ผู้ขอเป็นผู้จัดการมรดก
หลักฐานการตายของเจ้ามรดก
ทะเบียนบ้าน และบัตรประจำตัวของผู้จัดการมรดก
โฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์

ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียน
ค่าคำขอ แปลงละ ๕ บาท
ค่าประกาศมรดก แปลงละ ๑๐ บาท
ค่าจดทะเบียนผู้จัดการมรดก แปลงละ ๕๐ บาท
ค่าจดทะเบียนโอนมรดก ร้อยละ ๒ ตามราคาประเมินทุนทรัพย์
ในกรณีโอนมรดกระหว่างผู้บุพการีกับผู้สืบสันดาน หรือระหว่างคู่สมรส เรียกตามราคาประเมินทุนทรัพย์ ร้อยละ ๐.๕

การรับมรดกที่ดิน เมื่อเจ้าของที่ดินเสียชีวิต มีขั้นตอนอย่างไร

\”การยื่นคำร้องขอจัดการมรดก\”ต้องเตรียมอะไรบ้าง |สุพจน์ นิติรัฐกุล


ออกอากาศ สวท.สกลนคร วันที่ 9 สิงหาคม 2563
การยื่นจัดการมรดกที่ควรรู้!!
จะจัดการมรดกเมื่อใด?
ใครเป็นผู้มีสิทธิร้องขอให้ศาลมีคำสั่งตั้งผู้จัดการมรดก?
ใครเป็นผู้จัดการมรดกได้บ้าง?
การยื่นคำร้อง ยื่นที่ไหน?
คำร้องต้องทำอย่างไร
การยื่นคำร้องและนัดไตร่สวน ทำอย่างไร?
การขอรับคำสั่งศาลกรณีศาลสั่งตั้งผู้จัดการมรดกแล้ว
ผู้จัดการมรดกจะถูกถอนจากการเป็นผู้จัดการได้หรือไม่

\

ฟ้องผู้จัดการมรดกและอายุความ


ขั้นตอนการปรึกษา
1.สมัครเป็นสมาชิกของช่องนี้เพื่อโทรปรึกษาปัญหาทางกฎหมาย
https://www.youtube.com/channel/UCGOWQrTNOfmKMptD0tIvjg/join
2.พิมพ์คำถามผ่านไลน์ กับคำถามที่หลายท่านสงสัย กดติดตาม กดแชร์ก่อนปรึกษา ขอตอบทุกคำถามผ่าน https://lin.ee/WSoov7p (ปรึกษาฟรีด้วยการฝากข้อความ)ขอบคุณครับ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 814/2554
แม้ศาลชั้นต้นจะมีคำสั่งตั้งจำเลยที่ 1 เป็นผู้จัดการมรดกของ ช. จำเลยที่ 1 ก็เพียงแต่มีอำนาจจัดการทรัพย์มรดกของ ช. แทนทายาททุกคนและมีหน้าที่ต้องแบ่งปันที่ดินพิพาทซึ่งเป็นทรัพย์มรดกให้แก่ทายาททุกคน จำเลยที่ 1 ไม่มีสิทธินำที่ดินพิพาทไปขายให้แก่บุคคลใดโดยทายาทผู้ได้รับทรัพย์มรดกไม่ยินยอม แม้จำเลยที่ 2 ซื้อที่ดินพิพาทจากจำเลยที่ 1 โดยสุจริต เสียค่าตอบแทน และจดทะเบียนแล้ว จำเลยที่ 2 ก็ไม่ได้กรรมสิทธิ์ตามหลักที่ว่าผู้รับโอนไม่มีสิทธิดีกว่าผู้โอน การที่โจทก์ทั้งห้ามาฟ้องเรียกเอาที่ดินพิพาทคืน จึงเป็นการใช้สิทธิติดตามเอาคืนซึ่งทรัพย์สินจากผู้ไม่มีสิทธิยึดถือไว้ตาม ป.พ.พ. มาตรา 1336 กรณีไม่ใช่เรื่องเพิกถอนการฉ้อฉลตาม ป.พ.พ. มาตรา 237 เพราะการที่จะเป็นเรื่องเพิกถอนการฉ้อฉลได้นั้น จำเลยที่ 1 ผู้โอนจะต้องมีสิทธิโอนอยู่แล้ว แต่การโอนทำให้โจทก์ทั้งห้าซึ่งเป็นเจ้าหนี้เสียเปรียบเท่านั้น…

See also  สอนเติมเงินมือถือด้วยตู้เติมเงิน | ค้นหาตู้บุญเติม

ฟ้องผู้จัดการมรดกและอายุความ

น้องสาวแอบไปขอเป็นผู้จัดการมรดก พี่ๆไม่ทราบเรื่อง ทำแบบนี้เราสามารถคัดค้านได้ไหมคะ?


รายการ หมอเงิน…หมอความ ( ถามตอบ ) : TAPE 308
น้องสาวแอบไปขอเป็นผู้จัดการมรดก พี่ๆไม่ทราบเรื่อง ทำแบบนี้เราสามารถคัดค้านได้ไหมคะ?

รายการ หมอเงินหมอความ
ออกอากาศ (สด) ทุกวัน อาทิตย์ 16.0517.00 น.
รายการ หมอเงิน…หมอความ ( ถามตอบ )
ออกอากาศทุกวัน จันทร์ศุกร์ เวลา 16.55น.
ทาง TNN24 ช่อง 16
ติดตามข้อมูลข่าวสารได้ที่
https://www.facebook.com/morngern.morkwam/

น้องสาวแอบไปขอเป็นผู้จัดการมรดก พี่ๆไม่ทราบเรื่อง ทำแบบนี้เราสามารถคัดค้านได้ไหมคะ?

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Wiki

Related Posts

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *