ค่าชดเชยกรณีเกษียณ | เงินชดเชยกรณีเกษียณอายุ

ค่าชดเชยกรณีเกษียณ


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

ค่าชดเชยกรณีเกษียณเป็นกฎหมายใหม่ ที่กฎหมายให้สิทธิลูกจ้างแสดงความจำนงที่จะเกษียณได้ และก่อให้เกิดสิทธิในการได้รับค่าชเชย

ค่าชดเชยกรณีเกษียณ

ค่าชดเชยกรณีเกษียณอายุตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน


ค่าชดเชยกรณีเกษียณอายุตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน

ค่าชดเชยกรณีเกษียณอายุตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน

เงินบำนาญประกันสังคมได้เท่าไหร่ ดูได้เลย ไม่ต้องคิดไม่ต้องกรอกข้อมูล


สำหรับท่านที่ดูในวีดีโอไม่ชัด ท่านสามรถเข้าไปดูไฟล์ตารางได้ที่
https://drive.google.com/file/d/1WzeIQajoDCwOkWDaujkGjLYWbgWcdMrn/view?usp=sharing

See also  CLASH - ปฏิเสธไม่ได้ว่ารักเธอ [OFFICIAL MUSIC VIDEO] | เค แบงค์

เงินบำนาญประกันสังคมได้เท่าไหร่ ดูได้เลย ไม่ต้องคิดไม่ต้องกรอกข้อมูล

Ep.95 | การเกษียณอายุเท่ากับการเลิกจ้าง ต้องได้รับค่าชดเชย ถ้านายจ้างไม่กำหนดเกษียณอายุควรทำอย่างไร?


Ep.95 | การเกษียณอายุเท่ากับการเลิกจ้าง ต้องได้รับค่าชดเชย ถ้านายจ้างไม่กำหนดเกษียณอายุควรทำอย่างไร?
การเกษียณอายุ ตาม พรบ.คุ้มครองแรงงาน กำหนดอายุการเกษียณไว้ที่ 60 ปีบริบูรณ์ และให้ถือเสมือนว่าการเกษียณอายุเป็นการเลิกจ้าง นายจ้างจะต้องจ่ายค่าชดเชยตามกฎหมายนะคะ โดยการเกษียณอายุของลูกจ้าง แบ่งออกเป็น 2 กรณีดังนี้
1. กรณีนายจ้างกำหนดอายุเกษียณอายุไว้ในข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน หรือกำหนดไว้ในสัญญาจ้าง ให้ลูกจ้างเกษียณก่อนครบ 60 ปีบริบูรณ์ ให้ถือว่าการเกษียณอายุเป็นไปตามข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน หรือในสัญญาจ้างนั้น
2. กรณีนายจ้างกำหนดอายุเกษียณอายุไว้ในข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน หรือกำหนดไว้ในสัญญาจ้าง ให้ลูกจ้างเกษียณอายุเกิน 60 ปีบริบูรณ์ หรือหากนายจ้างไม่ได้กำหนดการเกษียณอายุไว้ ลูกจ้างมีสิทธิขอเกษียณอายุเองได้ โดยแสดงเจตนาต่อนายจ้างได้เมื่ออายุครบ 60 ปีขึ้นไป และให้มีผลเมื่อครบ 30 วัน หลังการแสดงเจตนากับนายจ้าง
การเกษียณอายุลูกจ้างไม่ได้สิทธิค่าบอกกล่าวล่วงหน้านะคะ นายจ้างเลิกจ้างลูกจ้างเพราะเหตุเกษียณอายุตามระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน หรือตามที่กำหนดไว้ในสัญญาจ้างแล้ว จึงไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้าให้ลูกจ้างทราบ เพราะลูกจ้างทราบล่วงหน้าอยู่เเล้วว่าการเกษียณอายุจะเกิดขั้นเมื่อใด ดังนั้น โดยข้อกฎหมาย นายจ้างจึงไม่ต้องจ่ายค่าบอกกล่าวล่วงหน้า แต่ต้องจ่าย ค่าชดเชยตามอายุงาน ดังนี้ค่ะ
ลูกจ้างที่ทำงานติดต่อกันครบ 120 วัน แต่ยังไม่ครบ 1 ปี จะได้รับค่าชดเชยเท่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 30 วัน
ลูกจ้างที่ทำงานติดต่อกันครบ 1 ปี แต่ยังไม่ครบ 3 ปี จะได้รับค่าชดเชยเท่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 90 วัน
ลูกจ้างที่ทำงานติดต่อกันครบ 3 ปี แต่ยังไม่ครบ 6 ปี จะได้รับค่าชดเชยเท่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 180 วัน
ลูกจ้างที่ทำงานติดต่อกันครบ 6 ปี แต่ยังไม่ครบ 10 ปี จะได้รับค่าชดเชยเท่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 240 วัน
ลูกจ้างที่ทำงานติดต่อกันครบ 10 ปี แต่ยังไม่ครบ 20 ปี จะได้รับค่าชดเชยเท่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 300 วัน
ลูกจ้างที่ทำงานติดต่อกันครบ 20 ปีขึ้นไป จะได้รับค่าชดเชยเท่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 400 วัน
คู่มือมนุษย์เงินเดือน

See also  บิ๊กฟุต ขับแบบออฟโรดลุยน้ำท่วม ลุยโคลน รถโม่ปูนลุยน้ำท่วม | พี่ปลื้ม | รถลุยน้ํา
See also  ประกันสังคม มาตรา 40 หลักประกันหลักร้อย | จ่ายเงินประกันสังคมมาตรา 40

Ep.95 | การเกษียณอายุเท่ากับการเลิกจ้าง ต้องได้รับค่าชดเชย ถ้านายจ้างไม่กำหนดเกษียณอายุควรทำอย่างไร?

ทำงาน เอกชน เกษียณเมื่อไหร่ ?


อ้างอิงจาก พรบ.คุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541
ท่านผู้ชมสามารถเข้าไปเยี่ยมชมเว็บไซต์ของเราได้ที่ hrca.simdif.com

ทำงาน เอกชน เกษียณเมื่อไหร่ ?

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆwes-and-vps/

Related Posts

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *