ประกันสะสมทรัพย์ ผลตอบแทนหลายร้อย % มีอยู่จริงหรือ !? I POCKET MONEY EP21
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม
หลายคนอาจจะเคยได้ยินโฆษณาว่าซื้อประกันสะสมทรัพย์ จะได้ผลตอบแทนหลายสิบ หลายร้อยเปอร์เซ็นต์ แถมยังเป็นผลตอบแทนแบบการันตี ไม่มีผันผวนระหว่างอีกด้วย นี่เป็นความเข้าใจที่ถูกต้องแล้วหรือยัง มาหาคำตอบกันในคลิปนี้
กดดูเนื้อหาที่ต้องการแบบไว ๆ
0:00 Intro
1:05 การคำนวณผลตอบแทนของประกันสะสมทรัพย์
3:29 IRR คืออะไร?
4:51 หน้าที่ที่แท้จริงของประกันสะสมทรัพย์ และทางเลือกการลงทุนสำหรับผู้ที่ต้องการสร้างผลตอบแทนระยะยาว
อ่านสรุป
https://finno.me/pocketmoneyep21clip
POCKETMONEY
กองทุน
ออมเงิน
FINNOMENA
ติดตามเรา
กด Subscribe เพื่อที่จะได้ไม่พลาดคลิปใหม่ๆจาก FINNOMENA ที่ https://finno.me/subscribe
กด Like เพจเฟสบุ๊คของ FINNOMENA อัปเดตตลาดก่อนใคร ที่ https://www.facebook.com/finnomena
กด Follow Instagram ของ FINNOMENA ที่ https://www.instagram.com/finnomena/
กด Follow ติดตามข่าวสารกองทุนรวมบน Twitter ที่ https://twitter.com/finnomena
สอบถามข้อมูลด้านการลงทุนในกองทุนรวมกับ FINNOMENA [email protected] : https://lin.ee/aKNYvnM
ดูข้อมูล อ่านบทความ และติดตามข่าวสารด้านการลงทุนอย่างครบวงจรได้ที่ https://www.finnomena.com/
เปิดบัญชีซื้อกองทุนรวมกับ FINNOMENA ได้ที่ https://finno.me/oa954
เปิดง่ายใช้เวลาแค่ 1 วัน เปิดฟรี! ไม่มีค่าใช้จ่าย ไม่ต้องใช้เอกสาร ซื้อกองทุนได้ 19 บลจ. หรือกว่า 700 กองทุน
ดูจบคลิปเดียวเข้าใจแน่นอน ประกันสะสมทรัพย์ ประกันเกษียณและบำนาญ
แชร์ความรู้เกี่ยวกับประกันชีวิต แบบสะสมทรัพย์ แบบเกษียณมั่นคง และแบบบำนาญ ว่ามันคืออะไร? แตกต่างกันอย่างไร? รายละเอียดความคุ้มครองในแง่มุมต่างๆ รวมถึงรูปแบบการรับเงินปันผล รับเงินผลประโยชน์ว่าเราสามารถเลือกแบบไหนได้บ้าง เอาไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนมรดก การเกษียณ หรือภาษีอย่างไรได้บ้าง
ประกันสะสมทรัพย์ ประกันบำนาญ ไดอารี่การเงิน
ฝากติดตามด้วยนะ 👇
📍YT https://www.youtube.com/channel/UCYAx_jc9bKA_Cfuoyw8fw
📍FB https://facebook.com/moneydiariesth/
📍IG https://www.instagram.com/moneydiariesth/
📍Line https://line.me/ti/g2/y8CNhBBo2lM1d6hQQhdWhA
📍Mail [email protected]
🎵Song : 샛별 Love me!
Music provided by 샛별.
Link : https://youtu.be/iquF_LLIkFs
ออมเงินกับ \”ประกันชีวิต\” ดียังไง ? | Money Buffalo
การออมเงินกับประกันชีวิตแบบสะสมทรัพย์ นอกจากจะสร้างความคุ้มครองให้กับเราแล้ว เรายังสามารถนำเบี้ยประกันไปลดหย่อนภาษีได้ แถมยังได้รับเงินก้อนโตเมื่อครบกำหนดตามเงื่อนไขของกรมธรรม์\r
และถ้าเรายังไม่รู้ว่า เราจะไปซื้อประกันชีวิตแบบสะสมทรัพย์ตัวไหนดี คลิปนี้พี่ทุย และ Money Buffalo จะมาแนะนำให้..
ติดตามสาระ + ความสนุกของ Money Buffalo ได้หลากหลายช่องทาง
FB | https://www.facebook.com/moneybuffalo
Youtube | https://www.youtube.com/c/moneybuffalo
Twitter | https://twitter.com/MoneyBuffaloTH
IG | https://www.instagram.com/moneybuffaloth/
LINE | http://bit.ly/MoneyBuffaloAddLINE
ประกันชีวิต TMB Sponsored
คำนวณ IRR กรมธรรม์ประกันชีวิตสะสมทรัพย์ ที่มีผลประโยชน์ทางภาษี
หลักเกณฑ์การหักลดหย่อนค่าเบี้ยประกันชีวิต
สำหรับกรมธรรม์ประกันชีวิตที่ทำตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2552 เป็นต้นไป ผู้มีเงินได้สามารถหักลดหย่อนเบี้ยประกันชีวิตได้ตามจำนวนที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 10,000 บาท ตามมาตรา 47(1)(ง) แห่งประมวลรัษฎากร และได้รับยกเว้นเงินได้หลังหักค่าใช้จ่ายในส่วนที่เกิน 10,000 บาท แต่ไม่เกิน 90,000 บาท ตามข้อ 2(61) ของกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ.2509) ต้องเป็นไปตามประกาศอธิบดีฯ ภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 172) แก้ไขเพิ่มเติมโดย ประกาศอธิบดีฯ ภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 235) ดังนี้
1. กรมธรรม์ประกันชีวิตต้องมีกำหนดเวลาตั้งแต่ 10 ปี ขึ้นไป และต้องทำประกันชีวิตไว้กับผู้รับประกันภัยที่ประกอบกิจการประกันชีวิตในไทย ตามหลักเกณฑ์ดังนี้
(1) กรมธรรม์ประกันชีวิตที่มีความคุ้มครองอื่นเพิ่มเติม ค่าเบี้ยประกันภัยที่จ่ายสำหรับความคุ้มครองอื่น เพิ่มเติมดังกล่าว ไม่สามารถยกเว้นภาษีสำหรับเบี้ยประกันภัยดังกล่าวได้
(2) กรมธรรม์ประกันชีวิตที่มีการรับเงินหรือผลประโยชน์ตอบแทนคืนในระหว่างอายุกรมธรรม์ ต้องเป็นไปตามเงื่อนไขดังนี้
ก. กรณีได้รับเงินหรือผลประโยชน์ตอบแทนคืนทุกปี จะต้องไม่เกินร้อยละ 20 ของเบี้ยประกันชีวิตรายปี หรือ
ข. กรณีได้รับเงินหรือผลประโยชน์ตอบแทนคืนตามช่วงระยะเวลาที่ผู้รับประกันภัยกำหนดนอกจาก ก. เช่น ราย 2 ปี 3 ปี หรือ 5 ปี เป็นต้น จะต้องไม่เกินร้อยละ 20 ของเบี้ยประกันชีวิตสะสมของแต่ละช่วงระยะเวลาที่ผู้รับประกันภัยกำหนดให้มีการจ่ายเงินหรือผลประโยชน์ตอบแทนคืน หรือ
ค. กรณีได้รับเงินหรือผลประโยชน์ตอบแทนคืนที่ไม่เป็นไปตาม ก. หรือ ข. ผลรวมของเงินหรือผลประโยชน์ตอบแทนสะสมตั้งแต่ปีแรกถึงปีที่มีการจ่ายเงินหรือผลประโยชน์ตอบแทนคืน ต้องไม่เกินร้อยละ 20 ของเบี้ยประกันชีวิตสะสมทั้งหมดในช่วงระยะเวลาดังกล่าว
ทั้งนี้ เงินหรือผลประโยชน์ตอบแทนคืนตาม ก. และหรือ ข. และหรือ ค. ไม่รวมเงินปันผลตามกรมธรรม์ประกันชีวิตที่ได้รับตามเงื่อนไขในกรมธรรม์ประกันชีวิต หรือเงินหรือผลประโยชน์ตอบแทนที่จ่ายเมื่อสิ้นสุดการจ่ายเบี้ยประกันชีวิตแล้ว แต่ผู้เอาประกันภัยยังคงได้รับความคุ้มครองตามระยะเวลาที่กำหนดในสัญญาประกันชีวิต หรือเงินหรือผลประโยชน์ตอบแทนที่จ่ายเมื่อสิ้นสุดอายุกรมธรรม์
2. ได้รับยกเว้นภาษีตลอดปีภาษี
3. ผู้มีเงินได้ต้องมีหลักฐานจากผู้รับประกันภัยที่พิสูจน์ได้ว่า มีการจ่ายเบี้ยประกันชีวิต และผู้รับประกันภัยต้องระบุเพิ่มเติม หากมีกรณีดังต่อไปนี้
(1) กรมธรรม์ประกันชีวิตที่มีความคุ้มครองอื่นเพิ่มเติม ต้องระบุจำนวนเบี้ยประกันชีวิตและเบี้ยประกันภัยที่จ่ายสำหรับความคุ้มครองอื่นเพิ่มเติมแยกออกจากกัน
(2) กรมธรรม์ประกันชีวิตที่มีการรับเงินหรือผลประโยชน์ตอบแทนคืนในระหว่างอายุกรมธรรม์
4. กรณีผู้มีเงินได้ใช้สิทธิยกเว้นภาษีเงินได้ตาม 2. แล้ว ต่อมาปฏิบัติไม่เป็นไปตาม 1. ผู้มีเงินได้หมดสิทธิได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ตาม 2. และต้องเสียภาษีเงินได้สำหรับปีภาษีที่ได้นำเงินค่าเบี้ยประกันชีวิตไปหักออกจากเงินได้เพื่อยกเว้นภาษีเงินได้มาแล้วนับตั้งแต่วันที่ได้ยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้ของปีภาษีนั้นๆ จนถึงวันที่ได้ยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเพิ่มเติม เพื่อเสียภาษีเงินได้เพิ่มเติมของปีภาษีดังกล่าวพร้อมเงินเพิ่ม ตามมาตรา 27 แห่งประมวลรัษฎากร
ที่มา: www.rd.go.th
ประกันออมทรัพย์ส่งสั้น ได้เงินเร็ว ลดหย่อนภาษีได้ แบบไหนดีสุด ? || EP 20 || Vic Advise
คลิปนี้ เป็นคลิปทำขึ้นเพื่ออธิบายให้กับรุ่นพี่ท่านหนึ่งที่ต้องการจะทำประกันสะสมทรัพย์เอาไว้ลดหย่อนภาษีครับ
แบบประกันสะสมทรัพย์ที่ส่งสั้น ๆ ได้เงินเร็ว
ลดหย่อนภาษีได้
แบบไหนดีที่สุด ?
มารับชมรับฟังกันได้ในคลิปนี้ครับ
………………………………………………
ติดต่องาน
Mail : [email protected]
Youtube : https://www.youtube.com/channel/UCRU…
Facebook : https://www.facebook.com/vicadvise
Line OA : https://lin.ee/4CLZotPGh
Twitter : @victanat
………………………………………………
ประกันออมทรัพย์ ประกันสะสมทรัพย์ ลดหล่อนภาษี ตัวแทนประกันเอไอเอ ที่ปรึกษาการเงิน AIA VicAdvise
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Wiki