[Vlog Ep.3] ไปรับสินค้าจากต่างประเทศ จะโดนภาษีนำเข้าเท่าไร
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม
ตรวจสอบภาษีนำเข้า กรมศุลกากรได้ที่นี่
http://etracking.customs.go.th/ETS/Ent/TrackingParcelServlet
ถ้าชอบก็ กด Like กดSubscribeเพื่อเป็นกำลังใจในการทำคลิปต่อไปด้วยครับ
Fanpage https://www.facebook.com/EXSansonVlog104406874965880/?ref=page_internal
ค่าใช้จ่ายในการโอนกรรมสิทธิ์อสังหาริมทรัพย์
คลิปนี้ อธิบาย อย่างคร่าวๆ เกี่ยวกับ ค่าใช้จ่าย ในการโอนอสังหาริมทรัพย์ค่ะ ลิงค์สำหรับดาวน์โหลดเอกสาร ตามนี้นะคะ https://goo.gl/htTdFG
คลิปต่อๆไป จะลงรายละเอียดให้มากขึ้น พร้อมตัวอย่างค่ะ
HomeDDcenter by Lin
แหล่งรวมอสังหาคุณภาพมือสองทั่วไทย ที่ผ่านการคัดสรร และแหล่งรวมความรู้และข่าวสารเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์
ยินดีให้คำปรึกษาด้านการตลาดอสังหาฟรี เราให้บริการที่แตกต่าง ตอบประเด็น ข้อสงสัยตรงจุด แก้ไขปัญหา จบการขายได้ อย่างรวดเร็ว
สนใจต้องการข้อมูลเพิ่มเติม ติดต่อได้ที่ ลิน โทร./ไลน์ 0886444114
Facebook: @homeddcenterbylin
www.homeddcenter.com
หรือ ติดตามชมยูทูปได้ที่
https://goo.gl/PZ94BL
ภาษีเงินได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ หมู่825
เรื่อง ภาษีเงินได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์
วิชา Business Tax System (01132342) หมู่ 825
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สาขา การตลาดภาคพิเศษ (Q10) ชั้นปีที่ 2
สมาชิก
1. นางสาว กนกวรรณ นุชนารถ รหัสนิสิต 5921651851
2. นางสาว รัชชาพรรณ พิลาดี รหัสนิสิต 5921656887
3. นางสาวเกวลิน จิตรโรจนรักษ์ รหัสนิสิต 5921657018
4. นางสาว ณิชกานต์ นาเครือ รหัสนิสิต 5921660175
5. นางสาว พิชญดา สุคัญธารุณ รหัสนิสิต 5921660213
คำนวนภาษีเงินได้เมื่อขายที่ดิน,บ้าน,คอนโด ณ กรมที่ดิน คิดคำนวนยังไง | Guru Living
สวัสดีครับ วันนี้เราจะมาคุยกันในอีกหนึ่งหัวข้อที่ได้รับความสนใจกันเป็นอย่างมากนะครับว่าการที่เราไปโอนบ้าน คอนโด หรือที่ดิน ณ กรมที่ดินเนี่ยเราจะมีค่าใช้จ่ายอะไรที่เราต้องเสียบ้างในฐานะทั้งเราเป็นผู้ซื้อหรือผู้ขายก็ตาม วันนี้ผมจะมาอธิบายค่าใช้จ่ายทุกๆอย่างโดยละเอียดเลยครับ
ก่อนอื่นเลยค่าใช้จ่าย ณ กรมที่ดินหากว่าเรามีการซื้อขาย บ้าน คอนโด หรือที่ดินกันจะมี 5 ตัวหลักๆครับคือ
1. ค่าธรรมเนียมการโอน
2. ค่าจดจำนอง
3. ค่าอากรแสตมป์
4. ค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ
5.ค่าภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
5. ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา หัก ณ ที่จ่าย
สำหรับผู้ขาย เมื่อขายอสังหาริมทรัพย์แล้วจะมีค่าใช้จ่ายอีกตัวนึงที่ตามมาครับ แต่ถ้าหากเราเป็นผู้ซื้อค่าใช้จ่ายนี้ไม่เกี่ยวข้องกับเรานะครับ ค่าใช้จ่ายตัวนี้คือ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ซึ่งเกณในการเรียกเก็บจะคิดจากราคาประเมินที่ดิน หักค่าใช้จ่ายตามอัตราที่กำหนด หารปีที่ถือครอง คูณอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ในส่วนแรกที่ต้องดูคือเราต้องดูว่าเราถือครองทรัพย์นั้นมานานกี่ปีครับ
ถือครอง 1 ปี คิดรายได้เป็นร้อยละ 92 ของเงินได้(ราคาประเมิน)
ถือครอง 2 ปี คิดรายได้เป็นร้อยละ 84 ของเงินได้(ราคาประเมิน)
ถือครอง 3 ปี คิดรายได้เป็นร้อยละ 77 ของเงินได้(ราคาประเมิน)
ถือครอง 4 ปี คิดรายได้เป็นร้อยละ 71 ของเงินได้(ราคาประเมิน)
ถือครอง 5 ปี คิดรายได้เป็นร้อยละ 65 ของเงินได้(ราคาประเมิน)
ถือครอง 6 ปี คิดรายได้เป็นร้อยละ 60 ของเงินได้(ราคาประเมิน)
ถือครอง 7 ปี คิดรายได้เป็นร้อยละ 55 ของเงินได้(ราคาประเมิน)
ถือครอง 8 ปี ขึ้นไป คิดรายได้เป็นร้อยละ 50ของเงินได้(ราคาประเมิน)
ในกรณีเป็นทรัพย์มรดกหรืออสังหาริมทรัพย์ที่ได้รับจากการให้โดยเสน่หา จะสามารถหักค่าใช้จ่ายได้ถึง 50 % จากราคาประเมิณครับ
หารจำนวนปีที่เราถือครองทรัพย์นั้นครับ ยกตัวอย่างเช่นถ้าเราถือครองมา 4 ปี ก็เอา 4 ไปหารกับตัวเลขที่หักค่าลดหย่อนไปแล้ว
ขั้นตอนสุดท้าย เราต้องนำรายได้ที่เราคิดมาคำนวณอัตราภาษีเงินได้เป็นแบบขั้นบันได ตามที่กรมสรรพากรกำหนดตามนี้ครับ
เงินได้สุทธิ อัตราภาษีร้อยละ
1 300,000 บาท 5%
300,001 500,000 บาท 10%
500,001 750,000 บาท 15%
750,001 1,000,000 บาท 20%
1,000,001 2,000,000 บาท 25%
2,000,001 4,000,000 บาท 30%
4,000,001 บาท ขึ้นไป 40%
หลังจากคำนวนภาษีที่เงินได้ที่คิดมาในแต่ละปีแล้ว ให้คูณกลับจำนวนปีที่ถือครองทั้งหมดกลับไปครับเท่านี้เราก็จะรู้ภาษีที่ต้องจ่ายทั้งหมดครับ
ถ้าจนถึงตอนนี้ใครยังงงอยู่ไม่เป็นไรนะครับ เพราะสุดท้ายตัวเลขพวกนี้กรมที่ดินเขาจะคิดคำนวนออกมาให้เราครับ เพียงแต่ว่าถ้าเราสามารถคำนวนตัวเลขเหล่านี้ได้ก่อน จะทำให้เราสามารถรู้รายจ่ายที่กำลังจะเกิดขึ้น พร้อมเตรียมรับมือ วางแผนหารายได้มารองรับค่าใช้จ่ายเหล่านี้ได้ครับ
ภาษีขายบ้าน ภาษีขายที่ดิน ภาษีขายคอนโด ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีขายบ้านคํานวณ ภาษีซื้อขายบ้านพร้อมที่ดิน ภาษีขายบ้าน2563 ภาษีขายบ้านใครจ่าย
ขายบ้านมีค่าใช้จ่าย มีภาษีอะไรต้องเสียบ้าง ?
ขายบ้านมีค่าใช้จ่าย มีภาษีอะไรต้องเสียบ้าง?
เวลาเราจะขายบ้านสัก 1 หลังสิ่งเนี่ย ทุกคนทราบกันไหมครับว่ามันไม่ใช่แค่การที่เราประกาศขายบ้าน พอมีคนซื้อ คนซื้อให้เงินเราแล้วจบแยกย้ายกันเลย ไม่ใช่แบบนั้นนะครับ
ในขั้นตอนการขานบ้านครับจะมี ทั้งค่าธรรมเนียม ค่าใช้จ่าย รวมถึงภาษีที่เราจะต้องจ่ายด้วยนะครับ ซึ่งผมต้องบอกเลยนะครับว่าเงินในจำนวนนี้เนี่ยก็มากพอสมควรเลยนะครับ ซึ่งะมากจะน้อยแค่ไหนอันนี้ขึ้นอยู่กับ ทรัพย์ที่เราทำการซื้อขายกัน แต่ประเด็นที่สำคัญที่สุดเลยคือถ้าเราไม่ได้เคยคิดคำนวนค่าใช้จ่ายพวกนี้ไว้ หรือเผื่อเงินในส่วนนี้ไว้ บางทีอาจทำให้เราขายบ้านแล้วได้เงินไม่ตรงตามที่เราคาดไว้ก็ได้ะนครับ
โดยส่วนตัวผมเลยคิดว่า เป็นเรื่องที่จำเป็นมากๆครับ สำหรับคนที่กำลังจะกลับบ้านทุกคนควรจะวางแผนคำนวณค่าใช้จ่ายต่างๆให้เรียบร้อยก่อนซึ่งในคลิปนี้ครับผมจะมาเล่าให้ทุกคนฟังคำว่ามันมีค่าใช้จ่ายกี่ตัวกันแน่แต่ละตัวคิดคำนวณกันยังไงนะครับ
ค่าใช้จ่ายหลักๆที่เราจะต้องเสียครับเราจะไปเสียในกระบวนการที่เราไปโอนกรรมสิทธิ์ณสำนักงานที่ดินกันครับ นั่นก็คือ process สุดท้ายแล้วครับที่เราจะเปลี่ยนชื่อในหลังโฉนดจากของเราให้เป็นของผู้ซื้อคนใหม่ครับ ซึ่งการทำธุรกรรมที่สำนักงานที่ดินจะมีค่าใช้จ่ายเกิดขึ้นครับ หรือที่เราคุ้นกันในชื่อ ค่าโอน ประมานนี้ครับ
แล้วคำถามคืออ่าวนอกเหนือจากค่าโอนมีค่าอื่นอีกด้วยหรอเพราะเมื่อกี้เห็นบอกว่ามีตั้งหลายตัวใช่ครับนอกเหนือจากค่าโอนอีกหลายตัวเลยครับ
1.ค่าธรรมเนียมการโอน
2.ค่าอากรณ์แสตมป์
3.ค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ
4.ภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย
จะมี 4 ตัวนี้เป็นหลักเลยนะครับแต่ถึงบอกว่ามี 4 ตัวครับแต่เอาเรื่องจริงเราจะจ่ายแค่ 3 ตัวเท่านั้นครับคือในส่วนของค่าอากรแสตมป์กับค่าภาษีธุรกิจเฉพาะครับเราเลือกจ่ายตัวใดตัวหนึ่งครับถ้าจ่ายตัวนึงแล้วอีกตัวก็ไม่ต้องจ่ายซึ่ง Detail ว่าแต่ละตัวมีเงื่อนไขยังไงต้องจ่ายเท่าไหร่บ้างนะเดี๋ยวจะเล่าให้ฟังคลิปนี้ล่ะครับอย่างละเอียดเลย
1.ค่าธรรมเนียมการโอน 2% จากราคาประเมิณ
ตัวแรกครับคือค่าธรรมเนียมการโอนหรือที่เราเรียกกันว่าค่าโอนนะครับถ้าโอนได้จะคิดอยู่ที่ 2 เปอร์เซ็นต์ครับจากราคาประเมินนะฮะดังนั้นครับราคาประเมินเท่าไหร่เอา 2 เปอร์เซ็นต์เข้าไปคืนครับนั่นเป็นค่าใช้จ่ายที่เราต้องจ่ายครับซึ่งจริงๆแล้วครับตามกฎหมายนะครับค่าค่าโอนเนี่ยคนที่มีหน้าที่ต้องรับผิดชอบครับคือผู้ซื้อและผู้ขายรับผิดชอบกันคนละครึ่งนั่นก็คือคนละ 1% นั้นเองครับแต่ต้องบอกนี้ว่าทั้งนี้ทั้งนั้นขึ้นอยู่กับการตกลงกันระหว่างเรากับผู้ซื้อด้วยนะครับสมมุติถ้าเราขายครับเดี๋ยวลดราคาให้เขาไปแล้วเนี่ยและเราไม่อยากจะออกค่าโอนแล้วครับเราสามารถระบุไว้ในสัญญาจะซื้อจะขายได้เลยนะครับว่าเราจะไม่ออกค่าโอนนะครับถ้าโอนเป็นหน้าที่ของผู้ซื้อแต่เพียงผู้เดียวแบบนี้เราก็สามารถกำหนดได้ครับ
2.ค่าอากรณ์แสตมป์
3.ภาษีธุรกิจเฉพาะ
อากรณ์แสตมป์ 0.5% จากราคาประเมินหรือราคาซื้อขาย
ภาษีธุรกิจเฉพาะ 3.3% จากราคาประเมินหรือราคาซื้อขาย
ตัวที่ 2 นี้จะมาเป็นแพ็คคู่กันนะครับนั่นก็คือภาษีธุรกิจเฉพาะแล้วก็ค่าอากรแสตมป์ครับอย่างที่บอกไปนะครับว่า 2 ตัวนี้จ่ายตัวใดตัวหนึ่งเท่านั้นครับจ่ายตัวนึงแล้วอีกตัวนึงก็ไม่ต้องจ่ายครับดังนั้นครับมันก็จะมีเกณฑ์อยู่นะครับว่า
1.เรามีชื่อในทะเบียนบ้านครบ 1 ปีไหม
2.เราเป็นเจ้าของโฉนดมาครบ 5 ปี ปฎิทินไหม
ซึ่งจะเป็น 2 ข้อข้างบนนี้ครับถ้าเราเข้าตามเกณฑ์ตัวใดตัวหนึ่งครับเราจะเสียแค่ค่าอากรแสตมป์ 0.5 เปอร์เซ็นต์เท่านั้นครับก็คือถูกมากๆนะ
แต่ถ้าเกิดว่าเราไม่เข้าเกมนี้นะครับเลยเนี่ยเราก็จะต้องไปจ่ายเป็นค่าภาษีธุรกิจเฉพาะแทนครับ 3.3% นะครับ
สังเกตเห็นไหมครับว่า 2 ตัวนี้นะฮะค่าใช้จ่ายที่ต้องจ่ายเบี้ยประกันมหาศาลมากๆดังนั้นครับสำหรับคนที่เพิ่งซื้อบ้านมาทุกคนนะครับที่ผมอยากจะแนะนำมากๆว่าให้รีบนะครับย้ายชื่อเข้ามาในทะเบียนบ้านเลยนะครับเพราะครบ 1 ปีแล้วเนี่ยเวลาเราขายเราก็จะได้ไม่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะนะครับที่มัน 3.3% เนี่ยมันก็เป็นเงินที่เยอะมากๆนะ
ผมเพิ่มเติมตรงนี้ให้นิดนึงนะครับในเคสนี้คือเคสกู้คนเดียวนะครับในเคสที่สามารถเอาชื่อไว้ในทะเบียนบ้านครบ 1 ปีแล้วจะไม่เสียค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ แต่ถ้าเป็นการกู้ร่วมครับเราจะต้องถือครองบ้านให้ครบ 5 ปีเท่านั้นนะครับถึงจะไม่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะจะใช้เกณฑ์การเอาชื่อเข้าทะเบียนบ้านไม่ได้เพราะเป็นการกู้ 2 คนนะครับอันนี้เป็นเรื่องที่ฝากโน๊ตไว้นะครับ
4. ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
สุดท้ายครับการที่เราขายบ้านได้เนี่ยหมายความว่าเรามีรายได้ใช่ไหมครับและเมื่อเรามีรายได้ครับเราก็มีหน้าที่จะต้องเสียภาษีให้กับทางรัฐบาลนะครับดังนั้นก็จะมีค่าใช้จ่ายสูงสุดท้ายครับคืนภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายครับ
ซึ่งการคำนวณตัวนี้ใช้ตัวแปร 2 ตัวในการมาคิดคำนวณภาษีให้เราครับ
1.ราคาประเมิน
2.ปีที่ถือครอง (คิดแบบขั้นบันได)
ขายบ้าน ค่าใช้จ่ายขายบ้าน ภาษีขายบ้าน ขายบ้าน ค่าโอน
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่wes-and-vps/